วันอาทิตย์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

สรุปวิจัย

สรุปวิจัย

สรุปวิจัย ผลการจัดกิจกรรมเสร็มประสบการณ์
เรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย
ของ พัชรา อยู่สมบูรณ์


ความเป็นมา


ในโลกมีความรู้และเทคโนโลยีเกิดขึ้นมาก และเป็นไปอย่างรวดเร็ว มนุษย์ไม่สามารถจดจำทุกสิ่งทุกอย่างได้ทั้งหมด ประเทศไทยจำเป็นต้องฝึกเยาวชนให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลาแต่ปัญหาวิกฤติในการเรียนการสอนที่ส่งผลต่อการคิดของเด็กไทยในปัจจุบันนี้ คือ การสอนโดยครูเป็นผู้นำความรู้มาบอกให้เด็กจดและท่องจำ ซึ่งตามหลักจิตวทยาพัฒนาการนั้นการเรียนรู้ในลักษณะนี้ไม่ได้ช่วงเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กเพราะไม่ได้สอนให้เด็กคิด วิเคราะห์ หรือค้นหาความรู้ด้วยตนเอง ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่นำเอากิจกรรมเสริมประสบการณ์หรือที่เรียกว่ากิจกรรมในวงกลมมาฝึกทดลอง เรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัยเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่สนใจได้เป็นแนวทางไปใช้เป็นประโยชน์ต่อเด็กปญมวัยต่อไป

จุดมุ่งหมายของการวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัยที่ทำกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องแสง ก่อนและหลังการทดลอง

ขอบเขตของการวิจัย
เด็กนักเรียน ชาย-หญิง ที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่2 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 2 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 57 คน โรงเรียนวัดศาลาครืน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ


ตัวแปลที่ศึกษา 1.ตัวแปลอิสระ ได้แก่ กิจกรรมเสร็จประสบการณ์ เรื่องเเสง 2.ตัวแปลตาม ได้แก่ ทักษะการแสวงหาความรู้


สมมุติฐานการศึกษาค้นคว้า
กิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องแสง ทำให้เด็กปฐมวัยมีทักษะการแสวงหาความรู้สูงขึ้น


Recorded Diary 14 November 17.2015

Recorded Diary 14 November 17.2015




The knowledge gained ( ความรู้ที่ได้รับ)
การทำกิจกรรม cooking 


โดยแบ่งกลุ่มเป็น 3 กลุ่ม 
แล้วให้เวียนกันทำในฐานต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้ให้



1.ข้าวจี่


อุปกรณ์


-ข้าวเหนียว (rice)

-เกลือ (Salt)
-ไข่ไก่ (egg)
-ไก่หยอง 
-ซอสปรุงรส (Sauces)
-ไม้เสียบข้าวจี่ 
-ถ้วย ( Cup )
-จาน ( Stove )

วิธการทำ


1.ปั้นข้าวเหนียวให้เป็นก้อนแล้วนำไปเสียบไม้ตามด้วยโลยเกลือ

2.นำข้าวเหนียวไปย่างให้เหลืองแล้วนำไปจุ่มไข่ไก่แล้วนำไปย่างต่อให้สุก
3. เมื่อไข่สุขแล้วให้น้ำวางจัดใส่จาน
4.โลยด้วยไก่หยอง





2.น้ำแข็งใส

อุปกรณ์

-เกลือ (Salt)
-น้ำหวาน (Sweet drink)
-น้ำแข็ง (ice)
-แก้ว (glass)
-นมข้น (cream)
-กาละมัง
-ไม้พาย
-น้ำ
  
วิธีทำ

1.นำน้ำแข็งผสมกับเกลือ

2.นำนำหวานที่ผสมกับน้ำเทลงใส่กาละมังเล็กแล้ว
3.นำมาวางไว้บนนำแข็งที่เตรียมไว้แล้วคนไปเลื่อยๆจนกว่าน้ำหวานจะจับตัวเป็นน้ำเเข็ง
4.ตักใส่แก้วแล้วโลยด้วยนมข้นหวาน





3.ขนมโค

อุปกรณ์

           -แป้งข้าวเหนียว
       -น้ำต้มสุก
       -น้ำตามแว่นหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ
       -สีผสมอาหาร
       -มะพร้าวขูด
       -เกลือป่น
       -ถ้วยพลาสติก


วิธีทำ
1. เตรียมสีผสมอาหารผสมกับน้ำ แล้วนำมาผสมกับแป้งทีเตรียมไว้ ค่อยๆนวดจนแป้งเนียนไม่ติดมือ ไม่แฉะเกินไปหรือแห้งเกินไป พักไว้
2. ปั้นแป้งเป็นก้อพอดีคำ ใส่น้ำตาลแว่นที่หั่นเตรียมไว้ คลึงให้เป็นก้อนกลม
3. นำน้ำใส่หม้อ ตั้งไฟปานกลางจนร้อน นำแป้งที่ปั้นเสร็จลงไปต้ม เมื่อขนมสุกจะลอยขึ้น
4. นำขนมที่ต้มสุกไปคลุกกับมะพร้าวขูดคลุกกับเกลือเล็กน้อยที่เตรียมไว้ รอจนเย็น พร้อมรับประทาน






นางสาว  กมลรัตน์   มาลัย   เรื่อง  ดินน้ำมันลอยได้อย่างไร ?

        สรุป

         ครูสร้างความสนใจให้กับเด็กโดยการให้เด็กไปเก็บสิ่งต่างๆรอบโรงเรียนแล้วเอามาจำแนกแบ่งว่า อะไรลอยน้ำได้ จมน้ำบ้าง แล้วนำมาทดลอง ปรากฎว่ามีเด็กในห้องคนหนึ่งหยิบดินน้ำมันขึ้นมาแล้วเอาไปลอยน้ำ ปรากฎว่าดินน้ำมันมันจมน้ำ เด็กจึงการสงสัยว่าจะทำอย่างไรให้ดินน้ำมันลอยน้ำได้ ครูจึงวางแผนโดยทำใบงานวิทยาศาสตร์และแจกให้กับเด็กๆ โดยให้เด็กรู้จักการคาดคะเนก่อนว่า ดินน้ำมันที่นำมาจะเป็นรูปร่างอะไร เปลี่ยนแปลงจากรูปสี่เหลี่ยมแล้วจะปั้นเป้นรูปอะไรให้ออกแบบเอง เด็กเคยเห็นเรือลอยน้ำได้ เด็กก็จะออกแบบวาดภาพเรือ แล้วก็จะปั้นตามที่ออกแบบ พอทดลองปรากฎว่าเรือลอยน้ำได้ แล้วเด็กก้จะนำเสนอผลงานว่ากลุ่มปั้นอะไร ลอยได้หรือไม่ แล้วให้เทคนิคกับเพื่อนว่าทำอย่างไรดินน้ำมันจึงลอยน้ำได้ และแก้ปัญหาโดยการปั้นขอบให้สูงขึ้นดินน้ำมันก้จะลอยน้ำได้จากกิจกรรมเด็กจะได้ทักษะ การสังเกต สี รูปทรง ของดินน้ำมัน เมื่อปั้นแล้วเปลี่ยนแปลงรูปเป็นอะไรถึงลอยน้ำได้  ที่สำคัญเด็กได้ลงมือปฎิบัติจริงทำด้วยตนเองและได้ออกแบบจากการคิดของเด็กเอง ซึ่งการออกแบบเกิดจากการตั้งสมมติฐานของเด็กความคาดเดาของเด็ก  และยังได้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือการสังเกต สื่อความหมาย ตั้งสมมติฐาน ทดลองปฎิบัติจริง ได้ลงความเห็นว่าสิ่งที่ทดลองเป็นจริง


Skill
   อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรมการทำคุกกลิ้งแล้วให้สักเกตการเปลี่ยนแปลงของขนม เกิดการเปลียนแปลงอย่างไร ผลที่ได้คืออะไร
วิธีการสอน
   บรรยายโดยการถามตอบ และการสังเกต ให้นักศึกษาระดมความคิด การทดลองด้วยตนเอง

Classroom Evaluation

   ห้องเรียนสะอาดกว้าง อุปกรณ์การเรียนเหมาะกับการใช้สอย

Self Evaluation
   มาเรียนตรงเวลา ทำงานมาส่งตามที่อาจารย์ได้รับมอบหมาย 
  
Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน
   
Evaluating teacher
   อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย แต่เนื่องด้วยอาจารย์ติดงานที่โรงเรียนสาธิตจึงมาสอนสาย 




วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Recorded Diary 13 November 10.2015

Recorded Diary 13 November 10.2015




1.The knowledge gained ( ความรู้ที่ได้รับ)
การทำกิจกรรม cooking 

โดยแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม 

แล้วให้เวียนกันทำในฐานต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้ให้


-ทาโกะยากิ


อุปกรณ์



-   แป้ง ( Flour ) 
-   เนย ( Butter )
-   นม ( mike )
-   ไข่ไก่ ( Egg )
-   น้ำ ( Water )
-   ถ้วย ( Cup )
-   จาน ( Stove )
-   ช้อน ( Spoon )
-   ที่ตีไข่ ( Whisk )


-   เครื่องทำวาฟเฟิล (plate)

วิธีทำ

ฐานที่1.ตักข้าวสวยใส่ถ้วย 3 ช้อนโต๊ะ
ฐานที่2.ตักไข่ที่ต๊อกไว้ให้ 1 ทับพี
ฐานที่3.หันหอมและปูอัด พอประมาณ
ฐานที่4.น้ำไปตักใส่หลุมทอดให้สุก
ฐานที่5.ตกแต่งให้สวยงาม










-บัฟเฟอร์


อุปกรณ์ ( Equipment )

-  ไขไก่ ( Egg )
-  ข้าวจ้าวหุงสุก
-   ต้นหอม
-   ปูอัด
-   เนย ( Butter )
-   ถ้วย ( Cup )

-   จาน ( Stove )
-   ช้อน ( Spoon )


- เครื่องทำทาโกยากิ


วิธีทำ

ฐานที่1..นำแป้งมาผสมกับ ไข่ เนย น้ำตาล
ฐานที่2.เทน้ำใส่พอประมาณ
ฐานที่3.ตีให้เข้ากัน
ฐานที่4.น้ำไปอบให้สุก
ฐานที่5.แตกแต่งให้สวยงาม












Skill
   อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรมการทำคุกกลิ้งแล้วให้สักเกตการเปลี่ยนแปลงของขนม
วิธีการสอน
   บรรยายโดยการถามตอบ และการสังเกต ให้นักศึกษาระดมความคิด การทดลองด้วยตนเอง

Classroom Evaluation

   ห้องเรียนสะอาดกว้าง อุปกรณ์การเรียนเหมาะกับการใช้สอย

Self Evaluation
   มาเรียนตรงเวลา ทำงานมาส่งตามที่อาจารย์ได้รับมอบหมาย 
  
Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน
   
Evaluating teacher
   อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายเข้าใจ

ง่าย



Recorded Diary 12 November 3 .2015

Recorded Diary 12 November 3 .2015



คัดลอกมาจาก  นางสาวจงรักษ์   หลาวเหล็ก
เนื่องจาก คุณหมอนัด (ขาดเรียน)

1.The knowledge gained ( ความรู้ที่ได้รับ)


     เเต่ละกลุ่มนำมายแมปปิ้งตามหน่วยต่างๆมาแปะไว้ที่หน้าห้องวิ
เคราะห์แผนจัดประสบการณ์การทดลองวิทยาศาสตร์และการทำอาหารของแต่ละหน่วย

1. หน่วยยานพาหนะ
2. หน่วยร่างกายของฉัน
3. หน่วยชุมชนของฉัน
4.หน่วยต้นไม้แสนรัก
5. หน่วยน้ำ 

       จากนั้นต่อด้วยแผนการทดลอง เเละแผนcooking  จากนั้นอาจารย์เเละเพื่อนในห้องก็ร่วมกันเสดงความคิดเห็นเพื่อให้เเผนของเเต่ละกลุ่มเกิดความสมบูรณ์มากขึ้นโดยวิเคราะห์ตามหัวข้อหลักๆ เช่น ประเภท ลักษณะ การดูแลรักษา ข้อควรระวัง ประโยชน์ จากนั้นอาจารย์ก็มาวิเคราะห์เเผนของเเต่ละกลุ่มส่วนที่ต้องปรับแก้แผนการทดลอง



กระบวนการทางวิทยาศาสตร์






ทักษะทางวิทยาศาสตร์






 2.skills (ทักษะ)
      ปรับแก้แผนของกลุ่มตนเองการเลือกใช้คำเเละสิ่งที่จะนำมาเขียนในเเผน
ต้องเป็นไปตามลำดับขั้นตอนตอบคำถามแสดงความคิดเห็น
ในการช่วยกันปรับแก้หรือเพิ่มเติมลงเเผนของเเต่ละกลุ่ม


3.Apply(การประยุกต์ใช้)
         นำแผนสิ่งที่อาจารย์วิเคราะห์ไปรบแก้แผนของตนเองการคิดวิเคาระห์แผนให้ละเอียดมากยิ่งขึ้นในการเขียนแผนเเต่ละหัวข้อ แผนที่ปรับแก้ไปทำเป็นเอกสารเพื่อเป็นเเนวทางในการนำไปสอนในอนาคตนำข้อความบางอย่างของกลุ่มเพื่อนมาเป็นเเนวทางปรับปรุงแผนของเราให้ดีมากยิ่งขึ้นสามารถนำแผนที่เขียนไปสอนเด็กได้เเละเด็กข้าใจได้ง่าย


4.technique  (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
      ให้นักศึกษารู้จักสังเกตุหรือปรับแก้งานข้อแตกต่างของตนเองจากกลุ่มเพื่อนการลงความคิดเห็นเเละตกลงกันว่ากลุ่มไหนที่จะจับคู่กันสอนในการทำกิจกรรม cooking ในแต่ละฐาน



5. assessment (ประเมิน)

ตัวเอง          แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลาแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนและจดบันทึกในขณะเรียน

เพื่อน           แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลาเพื่อนๆช่วยกันระดมความคิด ฝึกให้เราได้ใช้ความคิดเเละการหาคำตอบ    
อาจารย์       เเต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลาอธิบายเนื้อหาในการสอนได้ละเอียดเข้าใจง่ายวิเคราะห์แผนการสอนที่ถูกต้องเพิ่มเติมแนวทางในการเขียนแผนที่สามารถบูรณาการได้หลากหลายและถูกต้อง
ห้องเรียน    ห้องเรียนสะอาด เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา



Recorded Diary 11 october 27.2015

Recorded Diary 11 october 27.2015




The knowledge



การลอยของดอกไม้กระดาษ ด้วยน้ำ




     สิ่งมีชีวิตล้วนมีน้ำเป็นส่วนประกอบ กิจกรรมเปิดให้เด็กค้นหาคุณสมบัติขิงน้ำโดยใช้กระดาษพับแล้วตัดให้เป็นรูปดอกไม้ 4 กลีบแล้วระบายสีและให้พับกลีบแล้วให้วางดอกไม้กระดาษลงน้ำพร้อมๆกัน แล้วให้สังเกตดอกไม้กระดาษของตนเอง
-ดอกไม้แต่ละดอกบานไม่พร้อมกัน
-น้ำซึมแทนที่ว่างในกระดาษ
-สีเกิดการระลาย

แรงดันของน้ำ


การที่น้ำพุ่งออกจากรู แสดงว่า มีแรงกระทำต่อน้ำ แรงดันนี้ดันให้น้ำออกมาในทิศตั้งฉากกับผนังภาชนะที่ตำแหน่งที่เจาะรู และจะกระทำต่อผนังภาชนะทุกส่วนที่สัมผัสของเหลวและแรงมีทิศตั้งฉากกับผนังส่วนนั้น ดังรูป ขนาดของแรงดันที่กระทำตั้งฉากต่อพื้นที่หนึ่งหน่วย เรียกว่า ความดัน ( pressure )

น้ำภูมิเขาไฟ



คุณสมบัติน้ำ น้ำจะไหลจากที่สูงลงจากที่ต่ำ แรงดันน้ำมากขึ้นเท่าำรน้ำก็จะพุ่งไปข้างหน้าแรงมาก
เท่านั้น

ลูกยางกระดาษ



ลูกยางกระดาษจะตกลงสู่พื้น เร็วหรือช้า ขึ้นอยู้กับการพับและโยน ของคนเล่น

ไหมพรมเต้นระบำ



เนื่องจากหลอดที่ใช้เป่าทำมุมเอียงกับหลอดตรง ทำให้ลมที่เป่าเคลื่อนที่ผ่านหลอดตรงอย่างรวดเร็ว ผลักให้ไหมพรมส่วนที่อยู่ในหลอดตรงเคลื่อนที่เป็นวง

เทียนในแก้ว



การทดลอง  โดยนำเทียนมาจุดไฟแล้วนำแก้วมาคลอบเทียนไว้ แล้วสังเกต 
ผลคือ ไฟค่อยๆดับเพราะออกซิเจนที่ทำปฎิกิริยาให้ไฟติดเกิดการเผาไหม้จนหมด จึงทำให้เทียนดับ





Skill
   อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรมการทดลองแล้วให้สังเกตจดบันทึกพฤติกรรมเพื่อนแต่ละคนในการทำกิจกรรม
วิธีการสอน
   บรรยายโดยการถามตอบ และการสังเกต ให้นักศึกษาระดมความคิด

Classroom Evaluation

   ห้องเรียนสะอาดกว้าง อุปกรณ์การเรียนเหมาะกับการใช้สอย

Self Evaluation
   มาเรียนตรงเวลา ทำงานมาส่งตามที่อาจารย์ได้รับมอบหมาย 
  
Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน
   
Evaluating teacher
   อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายเข้าใจง่าย